วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2563

แบบทดสอบ เรื่องบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร พร้อมเฉลย

 บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร พร้อมเฉลย

แบบทดสอบ


 1. วัสดุจากธรรมชาติในข้อใด สามารถนำมาทำบรรจุภัณฑ์ได้


                ก. ก้อนหิน


                ข. เมล็ดพืช


                ค.รากไม้ไผ่


                ง. ทางมะพร้าว




2. ข้อใดเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากใบตอง


            ก. บายศรีเก้าชั้น


            ข. ม้าก้านกล้วย


            ค.กระทงใส่ห่อหมก


            ง. กระถางปลูกพลูด่าง




3. บรรจุภัณฑ์ที่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ควรนำมาใช้ คือข้อใด


                ก. กระทงใบเตย


                ข. ตะกร้าใบลาน


                ค. กล่องบรรจุนม


                ง. กล่องโฟมแช่อาหาร




4. บรรจุภัณฑ์ มีกี่ประเภท


            ก. 2 ประเภท


            ข. 3 ประเภท


            ค. 4 ประเภท


            ง. 5 ประเภท




5. บรรจุภัณฑ์ในข้อใดที่ไม่ได้เริ่มต้นมาจากธรรมชาติ


                ก. ลังไม้


                ข. เปลือกไข่


                ค. ฝักถั่วลันเตา


                ง. กระเพาะสัตว์




6. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง


                ก. เอกลักษณ์ของท้องถิ่น


                ข. วัสดุธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น


                ค.ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น


                ง.ถูกหมดทุกข้อ




7. กล่องกระดาษแข็งที่ไม่ใช้แล้ว ขนาด 12 X 12 นิ้ว ยังอยู่ในสภาพดี สวยงาม นักเรียนสามารถออกแบบทำบรรจุภัณฑ์ในข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด


                ก. กระถางปลูกต้นไม้


                ข. กล่องแช่ผัก ผลไม้


                ค. กล่องบรรจุอาหารแห้ง


                ง. กล่องใส่หนังสือเรียน ไม้บรรทัด




8. วัสดุจากธรรมชาติในข้อใด สามารถนำมาประดิษฐ์ดอกไม้แห้ง ใส่แจกันตกแต่งบ้านได้


                ก. ก้านกล้วย


                ข. ใบยางพารา


                ค. ดอกหญ้าคา


                ง. ดอกกุหลาบมอญ




9. วัสดุจากธรรมชาติในข้อใด สามารถนำมาสานตะกร้าใส่ของได้แข็งแรง ทนทาน


                ก. หวาย


                ข. ใบไผ่


                ค. ใบจาก


                ง. ต้นตาล




10. ถ้าต้องการให้บรรจุภัณฑ์ที่นักเรียนออกแบบแตกต่างจากผู้อื่น นักเรียนต้องมีในเรื่องใด

 

      ก. งบประมาณ


       ข. วัสดุ อุปกรณ์

 

       ค. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์


    ง. ข้อมูลพื้นฐานของบรรจุภัณฑ์











































 




เฉลย      

1. ง     

2.  ค   

 3.  ง 

 4.  ก   

 5.  ก     

 6. ง  

  7.  ค   

  8.  ข    

  9.  ก     

  10.  ค


แบบทดสอบ เรื่องวิตามินและเกลือแร่ พร้อมเฉลย

                             แบบทดสอบ


 1. แร่ธาตุ วิตามิน และน้ำมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในเรื่องใด


ก. ช่วยให้เอนไซม์ทำงานได้ดี


ข. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการหายใจ


ค. ช่วยในการสร้างฮอร์โมน


ง. ช่วยในการสังเคราะห์สารต่างๆ




1) ข้อ ก. และ ข. 


2) ข้อ ข. และ ค.


3) ข้อ ก., ค. และ ง. 


4) ข้อ ข., ค. และ ง.




2. ธาตุใดพบในมอลเทส แต่ไม่พบในมอลโทส


1) คาร์บอน 


2) ไนโตรเจน 


3) ออกซิเจน 


4) ไฮโดรเจน




3. ในขณะที่ร่างกายอ่อนเพลียมากๆ สารอาหารพวกใดที่เราควรรับประทาน เพื่อให้ร่างกายเป็นปกติในเวลาสั้นๆ  เพราะเหตุใด


1) กรดอะมิโน เพราะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิตได้เร็ว


2) กรดไขมัน เพราะเป็นสารที่ให้พลังงานสูงสุด


3) น้ำตาลกลูโคส เพราะจะถูกนำไปใช้ให้เกิดพลังงานได้เร็วกว่าอาหารอื่น


4) น้ำเกลือ เพราะเป็นสารอาหารที่ใช้ทดแทนแร่ธาตุที่สูญเสียไป




4. โครงสร้างระดับโมเลกุลของ ATP คล้ายกับโมเลกุลของสารใด


ก. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไพริดีน 


ข. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสพิวริน


ค. กรดอะมิโน


ง. กรดไขมัน




1) เฉพาะข้อ ก. 


2) เฉพาะข้อ ข.


3) ข้อ ก. และ ค. 


4) ข้อ ข. และ ง.




5. สิ่งมีชีวิตเก็บพลังงานที่ได้จากการหายใจไว้ในรูปอินทรียสารที่มีพลังงานสูงชนิดหนึ่ง โดยพลังงานจะมีค่าสูงมาก


ในพันธเคมีของสารใด


1) หมู่ฟอสเฟตกับหมู่น้ำตาลไรโบส 


2) หมู่น้ำตาลไรโบสกับหมู่เบสอะดีนีน


3) หมู่เบสอะดีนีนกับหมู่ฟอสเฟต 


4) หมู่ฟอสเฟตกับหมู่ฟอสเฟต




















































































เฉลย


1. 3) 


2. 2) 


3. 3) 


4. 2) 


5. 4)


แบบทดสอบ เรื่องโปรตีน พร้อมเฉลย

                            แบบทดสอบ

1. กรดนิวคลีอิกอีกที่พบในเซลล์สิ่งมีชีวิตมีกี่ชนิด

1. 1 ชนิด

2. 2 ชนิด

3. 3 ชนิด

4. 4 ชนิด

2. นิวคลีโอไทด์ของดีเอ็นเอประกอบด้วยสารใดต่อไปนี้

1. น้ำตาลไรโบส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต

2. น้ำตาลกลูโคส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต

3. น้ำตาลดีออกซีไรโบส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต

4. น้ำตาลดีออกซีไรโบส N-เบส และไตรกลีเซอไรด์

3. หน่วยย่อยของกรดนิวคลีอิกคืออะไร

1. กรดอะมิโน

2. กลูโคส

3. นิวคลีโอไทด์

4. กรดไขมัน

4. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารประเภทคาร์โบไฮเดรตคือข้อใด

1. ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน

2. ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน

3. ธาตุคาร์บอน ไนโตรเจน และออกซิเจน

4. ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน

5. คาร์โบไฮเดรตชนิดใดที่ร่างกายสามารถนำไปใช้ได้โดยตรง

1. น้ำตาลมอลโทส

2. น้ำตาลซูโครส

3. น้ำตาลกลูโคส

4. ไกลโคเจน

6. ไกลโคเจนซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่สะสมอยู่ในเซลล์ของสัตว์พบมากที่ใด

1. สมองและหัวใจ

2. ตับและกล้ามเนื้อ

3. หัวใจและตับ

4. กระเพาะอาหารและลำไส้

7. ลิพิดเป็นสารชีวโมเลกุลประกอบด้วยธาตุใดบ้าง

1. ธาตุคาร์บอน ธาตุไฮโดรเจน และธาตุออกซิเจน

2. ธาตุไฮโดรเจน ธาตุออกซิเจน และธาตุไฮโดรไลซ์

3. ธาตุคาร์โบไฮเดรต ธาตุไฮโดรเจน และธาตุออกซิเจน

4. ธาตุออกซิเจน ธาตุคาร์บอน และธาตุคาร์บอนไดออกไซด์

8. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของไขมัน

1. ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

2. ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น

3. ช่วยป้องกันการกระแทก

4. ช่วยป้องกันการสูญเสียความร้อน

9. โปรตีนเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่เกิดจากการรวมตัวของกรดอะไร

1. กรดพอลิเพปไทด์

2. กรดอะมิโน

3. กรดไดเพปไทด์

4. กรดไลซีน

10. สายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะเหมือนเส้นใยสายยาวๆ เรียกว่าอะไร

1. โปรตีนขนส่ง

2. โปรตีนก้อนกลม

3. โปรตีนเส้นใย

4. โปรตีนโครงสร้าง




เฉลยคำตอบ

1. 2

2. 3

3. 3

4. 1

5. 3

6. 2

7. 1

8. 1

9. 2

10. 4

แบบทดสอบ เรื่องคาร์โบไฮเดรต พร้อมเฉลย

                                แบบทดสอบ

 1. คาร์โบไฮเดรตแบ่งตามจํานวนหน่วยองค์ประกอบในโครงสร้างออกได่เป็นกี่ประเภท

1)2 ประเภท

2)3 ประเภท

3)4 ประเภท

4)5 ประเภท

2. หนวยองคประกอบของโครงสรางคารโบไฮเดรตที่เล็กที่สุดคือ

1)โอลิโกแซ็กคาไรด์

2)ไดแซ็กคาไรด์

3)มอโนแซ็กคาไรด

4)พอลิแซ็กคาไรด

3. ข้อใดไม่ใช่น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

1)กลูโคส

2)ฟลุคโตส

3)กาแลกโตส

4)ซูโคลส

4. แป้ง เซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลส จัดเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทใด

1)พอลิแซ็กคาไรด์

2)โอลิโกแซ็กคาไรด์

3)มอโนแซ็กคาไรด์

4)ไดแซ็กคาไรด์

5. เราสามารถรับคาร์โบไฮเดรตได้จากอะไร

1)ไข่ไก่

2)ข้าว

3)เนื้อวัว

4)เนย

6. ข้อใดไม่จัดว่าเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทพอลิแซ็กคาไรด์

1)แป้ง

2)ไกลโคเจน

3)มอลโทส

4)อินูลิน

เฉลยคำตอบ

1. 3 ประเภท

2. มอโนแซ็กคาไรด

3. ซูโคลส

4. พอลิแซ็กคาไรด

5. ข้าว

6. มอลโทส


แบบทดสอบ เรื่องไขมันและน้ำมัน

                              แบบทดสอบ


1) ลิพิดเตรียมได้จาก


1.กรดไขมันและกลีเซอรอล


2.แอลกอฮอล์และกลีเซอรอล


3.กรดไขมันและแอลกอฮอล์


4.กลีเซอรอลและน้ำ


5. กรดไขมันและน้ำ




2) ข้อใดเป็นกรดไขมันอิ่มตัว


1. โอเลอิก


2. ลิโนลีอิก


3. ลิโนลีนิก


4. บิวทาริก


5. ปาล์มิโตเลอิก




3)ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับลิพิด


1.ของแข็งที่อุณหภูมิธรรมดาเรียกว่าน้ำมัน


2.ไขวัวและเนยส่วนใหญ่เป็นกรดไม่อิ่มตัว


3.น้ำมันที่ได้จากถั่วเหลืองเป็นกรดไม่อิ่มตัว


4.กรดโอลิอิกได้มาจากน้ำมันมะพร้าว


5.ของเหลวที่อุณหภูมิธรรมดาเรียกว่าไขมัน




4) กรดไขมันชนิดใดเป็นกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว


1.กรดปาลมิติก กรดสเตียริก


2.กรดโอเลอิก กรดสเตียริก


3.กรดไลโนเลอิก กรดสเตียริก


4.กรดไลโนเลอิก กรดปาลมิติก


5.กรดไลโนเลอิก กรดอะราซิโนดิก




5) ข้อใดไม่ใช่ข้อสรุปที่ได้จากตารางข้อมูลนี้


1. กรดไขมัน A และ B เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง


2. ในไขมันสัตว์มีกรดไขมัน A และ B มากกว่ากรดไขมัน C และ D


3. กรดไขมัน C และ D เกิดกลิ่นเหม็นหืนยาก


4. กรดไขมันที่มีจำนวนพันธะคู่มากกว่าจะมีจุดหลอมเหลวน้อยกว่า หากมีจำนวนคาร์บอนเท่ากัน


5. ไม่มีข้อใดถูก




6) ในไขมัน 1 กรัม จะให้พลังงานแก่ร่างกายของเรา ประมาณกี่กิโลแคลอรี


1. 1 กิโลแคลอรี่


2. 2 กิโลแคลอรี่


3. 3 กิโลแคลอรี


4. 6 กิโลแคลอรี


5. 9 กิโลแคลอรี




7) ลิพิดต่างจากไขมันอย่างไร


1. ไม่ต่างกัน เพียงแต่ว่าลิพิดมีความหมายกว้างกว่า เพราะลิพิดรวมถึงสารอื่นที่ไม่ใช่ไขมัน


2. ไม่ต่างกันเพราะทั้งลิพิดและไขมันนั้นหมายถึงสารชีวโมเลกุลทีี่เป็นไขมันบริโภคจะเรียกชื่อใดก็ใช้ได้


3. ต่างกัน เพราะลิพิดมีความหมายกว้างกว่า หมายถึงสารประเภทไขมันทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นสารอินทรีย์หรือนินทรีย์ก็ตาม


4. ต่างกัน เพราะไขมันหมายถึงสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุ C H O ได้มาจากการทำปฏิกิริยากับกรดไขมัน


5. ไม่มีข้อใดถูก


 


8) ข้อใดเป็นกรดไขมันชนิดอิ่มตัวทั้งหมด


1. มาริสตริก สเตียริก โอเลอิก


2. สเตียริก โอเลอิก ไลโนเลอิก


3. โอเลอิก ไลโนเลอิก ไลโนเลนิก


4. ลอริก ปาล์มิติก สเตียริก


5. ลอริก สเตียริก โอเลอิก




9) ข้อใดคือสมบัติของไขมันและน้ำมัน


1. มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ ไม่ละลายน้ำ


2. ละลายน้ำได้ เกิดปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน


3. ละลายน้ำและเกิดการเหม็นหืนได้


4. ไม่ละลายน้ำและมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำกว่าน้ำมัน


5. ละลายน้ำได้และมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำกว่าน้ำมัน




10) การป้องกันการเหม็นหืนของไขมันและน้ำมัน คือข้อใด


1. เติมสารกันหืนหรือสารยับยั้ง เช่น วิตามินบี และซี


2. เติมสารกันหืนหรือสารยับยั้ง เช่น วิตามินอี และซี


3. เติมสารกันหืน เช่น วิตามินเอ ดี อี เค


4. เติมสารยับยั้ง เช่น วิตามินเอ ดี อี เค


5. เติมกรดและเบส






































เฉลย


1. 1


2. 4


3. 3


4. 5


5. 3


6. 5


7. 4


8. 4


9. 1


10. 2




ที่มา https://quizizz.com/admin/quiz/5d567af829c900001a71686f/-

แบบทดสอบ เรื่องการละลายของสารในน้ำ พร้อมเฉลย

                           แบบทดสอบ

1. น้ำเป็นสารประกอบที่มีสูตรโมเลกุลคือ ?

1. H2OO2. H22O3. H2O4. H2HO

2. สมบัติทางกายภาพของน้ำ

    1. ไม่มีรส มีสี มีกลิ่นมีรส

    2. มีรส ไม่มีกลิ่น มีสี

    3.ไม่มีรส มีกลิ่น ไม่มีสี

    4.ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี


3. H20 ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะใด ?

    1. Ionic Bond

    2. Cavalant Bond

    3. Metallic Bond

    4. Covalent Bond


4. น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติเป็นน้ำที่ไม่บริสุทธิ์มีสารเจือปนซึ่งอาจจะเป็น สารโคเวเลนต์ และสารที่อยู่ในรูปของไอออน คำถามถามว่าสารที่อยู่ในรูปของไอออนที่มีปริมาณมากในน้ำทะเลคือสารใด ?

    1. คลอไรด์ไอออน ซัลเฟตไอออน

    2. แคลเซียมไอออน โซเดียมไอออน

    3. คลอไรด์ไอออน โซเดียมไอออน

    4. โพแทสเซียมไอออน โซเดียมไอออน


5. การละลายของสารในน้ำเกิดขึ้นเมื่อใด ?

    1. เมื่ออะตอมของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่            เป็นสารเนื้อเดียว

    2. เมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่            เป็นสารเนื้อเดียว

    3. เมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่            เป็นสารเนื้อผสม

    4. เมื่ออะตอมของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่            เป็นสารแขวนลอย
















































เฉลย

1) 3.ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี

2) 4.ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี

3) 4. Covalent Bond

4) 3.คลอไรด์ไอออน โซเดียมไอออน

5) 2.เมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่เป็นสารเนื้อ  

         เดียว


ที่มา : https://quizizz.com/admin/quiz/5d554aaac14411001a864961/-

แบบทดสอบ เรื่องสารในแหล่งน้ำธรรมชาติ พร้อมเฉลย

                                   แบบทดสอบ

1. ทรัพยากรธรรมชาติข้อใดไม่จัดอยู่ในประเภท เดียวกัน

                  1. อากาศ แสงอาทิตย์             2.  พืช ป่าไม้

                  3.  ถ่ายหิน แก๊สธรรมชาติ     4.  ดิน น้ำมันปิโตเลียม


         2. ข้อใดจัดเป็นหยาดน้ำฟ้า

                  1.  แม่น้ำ ทะเล         2.  น้ำบาดาล น้ำบ่อ

                   3. น้ำฝน น้ำค้าง         4.  ลำคลอง มหาสมุทร


          3. โรงงานอุสาหกรรมก่อให้เกิดผลกระทบต่อแหล่งน้ำ อย่างไร

                  1.  แหล่งน้ำมีกลิ่นเหม็น                         2.  แหล่งน้ำมีอุณหภูมิสูง

                  3.  เกิดการสะสมสารพิษในโซ่อาหารในแหล่ง     4. ถูกต้องทุกข้อ

 

          4.  สารใดเป็นดัชบ่งชี้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำโดย วิธีการไทเทรต (titration)

       1.  สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI)           2.   สารละลายแมงกานีสซัสซัลเฟต (MnSO4)

       3. สารละลายโซเดียมไธโอซัลเฟต (Na2S2O3)    4.  สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซต์ (NaOH)


          ..จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 5 - 6

นำตัวอย่างน้ำจากสระแห่งหนึ่งปริมาณ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร นำมาหาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำโดยใช้วิธีไทเทรตพบว่าใช้สารละลายน้ำ Na2S2O3 ความเข้มข้น 0.01 โมลต่อลิตร ปริมาตร 5  ลูกบาศก์เซนติเมตร ในการไทเทรตจนตัวอย่างน้ำไม่ มีสี


          5. ค่าดีโอในสระน้ำมีค่าเท่าใด

                  1.   1 mg/l         2.     2 mg/l

                  3.   3 mg/l         4.     4 mg/l

 

          6. น้ำในสระมีคุณภาพน้ำอย่างไร

                  1.  น้ำสะอาดมาก     2. น้ำเสีย

                  3.  น้ำสะอาด             4.  น้ำบริสุทธิ์

 

          7.  BOD (biochemical oxygen demand) คือข้อใด

            1.  ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ ซึ้งสิ่งมีชีวิตใน น้ำใช้ดำรงชีวิต

            2.  ปริมาณออกซิเจนที่ละลายได้รับจากกระบวน การน้ำ ซึ้งสังเคราะห์ด้วยแสงของสิ่งมีชีวิตใน น้ำ

            3. ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการเพื่อใช้ใน ปฏิกิริยาย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ

            4.   ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการเพื่อใช้ใน ปฏิกิริยาย่อยสลายสารอนินทรีย์ในน้ำ

 

          8. ข้อใดแสดงค่า BOD5 ของน้ำบริสุทธิ์

                  1. BOD5  =   0       2.  BOD5  =   1

                  3. BOD5  =   2       4. BOD5  =   3

 

          9.  ข้อใดคือความหมายของน้ำเสีย (wastewater)

                 1.  ของเสียที่อยู่ในสภาพของเหลวที่ได้รับการ บำบัดแล้ว

                 2.  ของเสียที่อยู่ในสภาพเหลวที่ได้รับการ บำบัดแล้ว หรือไม่ได้รับการบำบัด

                 3.  ของเสียที่อยู่ในสภาพเหลวรวมทั้งมลสารที่ ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น

                 4.   ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.

 

          10. ข้อใดไม่จัดเป็นน้ำเสีย

                  1.  BOD5  =  15  mg/l                    2.  DO  >  3  mg/l

                  3.  แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด  >  2,000 MPN/100 ml           4.   ค่า  pH  =  10

 

          11. กลุ่มพืชน้ำข้อใดไม่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย

                 1.  ผักตบชวา ธูปฤๅษี        2.   หญ้าแฝก กกสามเหลี่ยม

                 3.   บัว ผักตบชวา                4.  สาหร่ายหางกระรอก ผักแว่น

 

          12. การทำฝนหลวงมีลำดับขั้นตอนอย่างไร

                  1. กระตุ้นให้เมฆรวมตัวเป็นกลุ่มแกน เพื่อใช้ เป็นแกนกลางในการสร้างกลุ่มเมฆฝน

                  2. เพิ่มแกนเม็ดไอน้ำกลุ่มเมฆฝนมีความหนา แน่นมากขึ้น

                  3.  ทำให้เม็ดไอน้ำที่มีขนาดใหญ่ตกกลายเป็น ฝน

                  4. ถูกต้องทุกข้อ

 

          13. สารใดก่อให้เกิดกระบวนการกลั่นตัวของไอน้ำใน บรรยากาศในการทำฝนหลวง

                 1.แคลเซียมคลอไรด์      2.   แอมโมเนียไนเตรด

                 3.   ซิลเวอร์ไอโอไดด์       4.   ยูเรีย

 

          14. ข้อใดลำดับอนุภาคดินจากขนาดเล็กไปใหญ่ได้ ถูกต้อง

                1.   ดินเหนียว ดินทราย ดินทรายแป้ง

                2.   ดินทราย ดินทรายแป้ง ดินเหนียวี

                3.  ดินเหนียว ดินทรายแป้ง ดินทราย

                4.    ดินทราย ดินร่วน ดินเหนียว

 

          15. ดินชั้นใดเป็นชั้นของฮิวมัส

                 1. ผิวดิน    

                 2. ดินชั้นบน

                 3.  ดินชั้นล่าง            

                 4.  ข้อ  ก.  และ  ข.  ถูกต้อง

 

          16. ข้อใดลำดับชั้นของดินจากชั้นบนสู่ชั้นล่างได้ถูกต้อง

                    1. ชั้นผิวดิน

                    2. ดินชั้นบน

                    3. ดินชั้นล่าง

                    4. วัตถุต้นกำเนิดดิน

                    5. ชั้นหินพื้น

                1.     1        2        3          4           5

                2.     2        3        4          5           1

                3.     3        4        5          1           2

                4.     4        5        1         2            3

 

          17. ข้อใดคือสัดส่วนขององค์ประกอบของดิน

                1.   แร่ธาตุ   =    5 %  อินทรียวัตถุ   =   25 %     อากาศ   =    25%     น้ำ   =  45%

                2.   แร่ธาตุ   =    25 %  อินทรียวัตถุ   =   25 %     อากาศ   =    5%     น้ำ   =  45%

                3. แร่ธาตุ   =    25 %  อินทรียวัตถุ   =   5 %     อากาศ   =    25%     น้ำ   =  45%

                4. แร่ธาตุ   =    45 %  อินทรียวัตถุ   =   5 %     อากาศ   =    25%     น้ำ   =  25%


          18. วิธีการใดป้องกันการพังทลายของหน้าดิน

                  1. การปลูกพืชคลุมดิน                                     2.  การปลูกพืชหมุนเวียน

                  3.  การปลูกพืชแบบชั้นบันไดบริเวณไหล่เขา     4. ข้อ ก. และ ค. ถูก

 

          19. สารใดช่วยแก้ปัญหาดินเค็ม

                  1.ยิปซัม       2.  ปูนมาร์ล

                  3.  เปลือกหอยป่น       4.  ปูนขาว

 

          20.  สัดส่วนของแก๊สออกซิเจนในอากาศเป็นเท่าใด

                  1.  75%    21%

                  3.   10%       4.   1%

จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 21 - 22

          1. แก๊สมีเทน

          2. แก๊สไฮโตรเจนซัลไฟต์

          3. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซต์

          4. ออกไซต์ของซัลเฟอร์


          21. มลสารที่ปนเปื้อนในอากาศชนิดใดเกิดจากการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์

                 1. ข้อ 1        2.  ข้อ 2

                 3. ข้อ 3        4.  ข้อ 4

  

          22. มลสารที่ปนเปื้อนในอากาศชนิดใดทำให้เกิดฝนกรด

                 1. ข้อ 1        2.  ข้อ 2

                 3. ข้อ 3     ข้อ 4

 

          23. หากร่างกายได้รับแคดเมียมในปริมาณมากอาจ ก่อให้เกิดอาการอย่างไร

                1.  ทำลายระบบประสาทสมอง ทำให้ปวด กล้ามเนื้อ

                2.   มีพิษต่อระบบทางเดินอาหาร ทำลายปอดและ เม็ดเลือด

                3. เซลล์หน่วยไตถูกทำลาย กระดูกผุกร่อนหัก ง่าย

                4.    วินเวียนศีรษะ อาเจียน แน่นหน้าอก หนาวสั่น


          24. ข้อใดเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากมลพิษทางอากาศ ต่อพืช

                1.   ทำให้พืชเจริญเติบโตช้าลง

                2.   ทำให้ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชลดลง

                3.  ทำให้พืชได้รับแสงน้อยกว่าปกติ

                4. ถูกต้องทุกข้อ


          25. สารใดเป็นสาเหตุทำให้ปริมาณโอโซนในชั้น บรรยากาศลดลง

                 1. สารพอลิอะลูมินัมคอลไรด์

                 2. สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน

                 3.  สารแอมโมเนียมไนเตรด

                 4.  สารแคลเซียมคาร์ไบด์

 

          26. ข้อใดไม่จัดเป็นแก๊สเรือนกระจก

                1.    แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สคลอโรฟูลโร คาร์บอน

                2.     แก๊สมีเทน แก๊สไนตรัสออกไซด์

                3.     แก๊สไนตรัสออกไซด์ แก๊คาร์บอนไดออกไซด์

                4.     แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์

 

          27. การทำลายป่าไม้จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อมนุษย์

                1.   เกิดปรากฏการณ์การณ์เรือนกระจก

                2.   เกิดอุทกภัยเพราะน้ำท่วมฉับพลัน

                3.   ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในป่าลดลง

                4. ถูกต้องทุกข้อ

 

          28. ข้อใดเป็นสัตย์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตย์ป่า พ.ศ. 2535

              1. สมัน นกกระเรียน แรด       2.  กวางผา เสือดาว สมเสร็จ

              3.  นกยูง เก้งหม้อ เลียงผา       4.  แมวลายหินอ่อน ควายป่า หมีดำ

 

          29. ข้อใดหมายถึงพื้นที่สงวนชีวาลัย

                1.   พื้นที่ที่กำหนดขึ้นเพื่อการคุ้มครองสัตย์ป่าให้ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตย์ป่าอย่างปลอดภัย

                2.   พื้นที่ที่รวบรวมพันธุ์ไม้ดอกและไม้ยืนต้นที่มี ค่าทางเศรษฐกิจ

                3. พื้นที่ที่กำหนดขึ้นเพื่อความหลากหลายทาง พันธุกรรมของพืชและสัตว์

                4.   พื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความเด่นระดับ โลก


          30.  การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติหมายถึงข้อใด

             1. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีเหตุผล เพื่อ มนุษย์จะมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพที่ดีตลอดไป

             2.   การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่าและ ให้ดำรงอยู่ได้ตลอดไป

             3.    การรักษาและดูแลทรัพยากรธรรมชาติไม่ให้ สูญสิ้นและใช้ประโยชน์คุ้มค่า

             4.   การดูแล ป้องกัน และรักษาทรัพยากร ธรรมชาติไม่ให้ใช้อย่างไม่ประหยัดและคุ้มค่า












































เฉลย

1. 4

2. 3

3. 4

4. 3

5. 2

6. 2

7. 3

8. 1

9. 3

10. 2

11. 4

12. 4

13. 1

14. 3

15. 2

16. 1

17. 4

18. 4

19. 1

20. 2

21. 3

22. 4

23. 3

24. 4

25. 2

26. 4

27. 4

28. 1

29. 3

30. 1